การพัฒนาตารับเจลน้ามันของสารสกัดไพล

โดย: นายบดินทร์ โรจน์พงศ์เกษม, นางสาวพิชญา หิรัญมาศสุวรรณ    ปีการศึกษา: 2557    กลุ่มที่: 13

อาจารย์ที่ปรึกษา: อัญชลี จินตพัฒนกิจ , รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล , ดวงดาว ฉันทศาสตร์    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม

Keyword: เจลน้ามัน, ไพล, สารสกัดเฮกเซน, Fumed silica (Aerosil®), Oleogel, Oil gel, Zingiber cassumunar, Hexane extract, Fumed silica (Aerosil®)
บทคัดย่อ:
โครงการพิเศษนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตารับเจลน้ามันจากสารสกัดไพล ทาการสกัดไพลโดยการสกัดแบบชง (Percolation) ด้วยเฮกเซน (Hexane) และเตรียมน้ามันไพลทอด โดยทอดไพลในน้ามันมะพร้าว สารสกัดที่ได้ทาการตรวจหาสารสาคัญด้วยวิธี Thin Layer Chromatography และ Densitometry โดยใช้เคอร์คิวมินเป็นสารมาตรฐาน ทาการพัฒนาเจลน้ามันสารสกัดไพลโดยใช้น้ามันเป็นน้ามันมะพร้าวหรือน้ามันแร่ และใช้สารก่อเจลคือ Fumed silica (Aerosil®), polyethylene หรือ ethylcellulose และประเมินคุณสมบัติทางกายภาพเบื้องต้นของเจลน้ามันในด้านความหนืด เนื้อสัมผัส ความเหนอะ และกลิ่น ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดไพลด้วยเฮกเซนเตรียมได้ 10.84 % w/w ซึ่งมีปริมาณเคอร์คิวมิน 0.7176 mg/g ของสารสกัด และในน้ามันไพลทอดมีปริมาณเคอร์คิวมิน 0.5348 mg/g ของสารสกัด น้ามันมะพร้าวและ Aerosil® 300 เป็นน้ามันและสารก่อเจลที่เหมาะสมที่สุดในการเตรียมเจลน้ามันสารสกัดไพล โดยเจลน้ามันพื้นที่ดีสุดเตรียมจาก 6%w/w Aerosil® 300, 30%w/w methyl salicylate และ 10%w/w menthol และปรับแต่งกลิ่นด้วย eugenol หรือ cajuput oil หรือไม่แต่งกลิ่น ซึ่งพบว่าคะแนนความพึงพอใจในกลิ่นของเจลน้ามันพื้นทั้ง 3 สูตรไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ในการตั้งตารับเจลน้ามันสารสกัดไพลพบว่าเจลน้ามันที่ได้มีความหนืดน้อยกว่าเจลน้ามันพื้นอย่างชัดเจน โดยตารับที่แต่งกลิ่นด้วย cajuput oil มีความหนืดมากที่สุด รองลงมาคือตารับที่ไม่แต่งกลิ่น และตารับที่แต่งกลิ่นด้วย eugenol ตามลาดับ โดยผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อใช้พัฒนาตารับเจลน้ามันสารสกัดไพลต่อไป ทั้งนี้ควรมีการศึกษาความคงสภาพเบื้องต้น และประสิทธิภาพในการรักษาของเจลน้ามันที่พัฒนาขึ้น
abstract:
This special project aimed to develop topical oleogel of Zingiber cassumunar rhizome extract. Hexane extract and oil extract of Zingiber cassumunar rhizome (Plai) were prepared and by Percolation and frying Plai in coconut oil, respectively. Both extracts were then analyzed by Thin Layer Chromatography and densitometry methods using curcumin as reference standard. Olegel of Plai extract were developed by using coconut oil or light liquid paraffin as oil base and Fumed silica (Aerosil®), polyethylene or ethylcellulose as oil gelling agents. Their physical properties in terms of viscosity, texture, greasy and scent were evaluated. The results indicated that, yield of hexane extract was 10.84% w/w containing curcumin 0.7176 mg/g of extract. Oil extract contained curcumin 0.5348 mg/g of extract. It was found that coconut oil and Aerosil® 300 were the suitable oil base and oil gelling agent for preparing of Olegel of Plai extract. The most suitable oleogel base is created with the combination of 6%w/w Aerosil® 300, 30%w/w methyl salicylate and 10%w/w menthol with or without flavoring with eugenol or cajuput oil. There was no significant difference of scent satisfaction between the three types of oleogel bases. Addition of Plai extract in oleogel base resulted in the dramatically decrease in viscosity and the rank order of viscosity of oleogel was oleogel favoring with cajuput oil > oleogel without favoring > oleogel favoring with eugenol. The results from this study represent helpful information on the development of topical oleogel of Plai extract. Stability and efficacy of analgesic effect of the oleogel should be further evaluated.
.