การพัฒนาสบู่จากน้ามันถั่วดาวอินคา

โดย: นายภาณุพงศ์ ลิขิตพิทักษ์, นางสาวมนัสนันท์ ปิยะนิจดารงค์    ปีการศึกษา: 2559    กลุ่มที่: 14

อาจารย์ที่ปรึกษา: วีรวัฒน์ ตีรณะชัยดีกุล , วราภรณ์ จรรยาประเสริฐ , อมราพร วงศ์รักษ์พานิช    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม

Keyword: น้ามันจากถั่วดาวอินคา, สบู่ก้อน, สะพอนิฟิเคชัน, Sacha inchi oil, Soap bar, Saponification
บทคัดย่อ:
จุดประสงค์ของโครงการนี้เพื่อเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสบู่ที่มีส่วนผสมระหว่างน้ามันจากถั่วดาวอินคาและน้ามันจากพืชชนิดต่างๆ โดยในขั้นแรกทาการวิเคราะห์หาค่าสะพอนิฟิเคชันของน้ามันถั่วดาวอินคา น้ามันถั่วเหลือง น้ามันปาล์ม น้ามันดอกคาโนลา น้ามันราข้าว และน้ามันมะพร้าว ได้ค่า 214.99, 206.54, 219.42, 205.60, 202.37 และ 266.51 มิลลิกรัมโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ต่อกรัมของน้ามันตามลาดับ จากนั้นเตรียมสบู่จากน้ามันแต่ละชนิดและประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ เช่น ความแข็ง ปริมาตรและความคงตัวของฟอง ลักษณะของฟอง และศึกษาความคงตัวโดยเก็บในสภาวะเร่งที่ 50 oC เป็นเวลา 14 วัน จากผลการทดสอบพบว่าน้ามันที่ให้คุณสมบัติที่ดีเหมาะสมสาหรับการทาสบู่คือ น้ามันราข้าว น้ามันดอกคาโนลา และน้ามันมะพร้าว จากนั้นจึงนาน้ามันดังกล่าวมาพัฒนาสูตรตารับตารับสบู่ที่ประกอบไปด้วยน้ามัน 2 ชนิดผสมกัน ผลการทดสอบพบว่าน้ามันราข้าวผสมน้ามันมะพร้าวให้คุณสมบัติของสบู่ที่ดี จึงนามาผสมกับน้ามันถั่วดาวอินคาในสัดส่วนที่มีส่วนผสมของน้ามันราข้าว น้ามันมะพร้าว และน้ามันถั่วดาวอินคาในอัตราส่วน 50:40:10 ในขั้นตอนของการเตรียมน้ามันถั่วดาวอินคาถูกเติมในระหว่างการทาสะพอนิฟิเคชัน (S1) และหลังการทาสะพอนิฟิเคชัน (S2) สบู่ที่ได้มีสีครีม เนื้อเนียน ปริมาตรและความคงตัวของฟองสูง ผลการประเมินความแข็งพบว่าสบู่สูตร S1 และ S2 ที่มีค่าเท่ากับ 240.6 กรัม และ 264.6 กรัม และมีค่า pH เท่ากับ 10.13 และ 9.97 ปริมาณไฮดรอกไซด์อิสระเท่ากับร้อยละ 0.05 และ 0.00 ตามลาดับ ความคงตัวเมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 50oC นาน 14 วัน พบว่าสบู่ทั้ง 2 มีสีเหลืองขึ้นเล็กน้อย
abstract:
This project aimed to develop soap bar from sacha inchi oil with other vegetable oils. Firstly, we evaluated a saponification value of each oil. A saponification value of sacha inchi oil, soy bean oil, palm oil, canola oil, rice bran oil and coconut oil was 214.99, 206.54, 219.42, 205.60, 202.37 and 266.51 mg of KOH/1 g oil, respectively. Then, soap bars were produced from each oil and their physicochemical properties were evaluated including hardness, foam volume and stability, the appearance of foam and physical stability after stored at 50 oC for 14 days. The soap bar prepared from rice bran oil, canola oil or coconut oil showed the good performances. As a result, they were used to prepare soap bars composed of 2 different oils. The soap bar composed of rice bran oil and coconut oil demonstrated the best performances; therefore, they were used to prepare sacha inchi soap bar. The sacha inchi soap bar comprised rice bran, coconut and sacha inchi oils at the ratio of 50:40:10. For the preparation, sacha inchi oil was added during saponification (S1) or after saponification (S2). The physicochemical properties of soap bars prepared from different processes were evaluated and compared. The obtained soap bars were off-white with homogenous texture, and they showed the high volume and good stability of the foam. The hardness was 204.6 g and 264.6 g with the pH of 10.13 and 9.97 for S1 and S2, respectively. Free caustic alkaline was 0.05 and 0.00 percent for S1 and S2, respectively. The colour of S1 and S2 after stored at 50oC for 14 days slightly changed to be more yellow.
.