การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพน้ามันไพลที่สกัดด้วยการทอดน้ามันมะพร้าวหรือน้ามันแร่

โดย: นายพิชญุตม์ พฤหัสนันท์,นายพิรุฬห์พงษ์ พิพิธปิยะปกรณ์    ปีการศึกษา: 2558    กลุ่มที่: 25

อาจารย์ที่ปรึกษา: นิศารัตน์ โอภาสเกียรติกุล , รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล , ณัฏฐินี อนันตโชค    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์

Keyword: ไพล, น้ามันมะพร้าว, น้ามันแร่, เคอร์คิวมิน, Zingiber cassumunar, coconut oil, mineral oil, curcumin
บทคัดย่อ:
โครงการพิเศษนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของน้ามันไพลที่สกัดโดยวิธีการทอดด้วยตัวทาละลายที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1. น้ามันมะพร้าว (Coconut oil) 2.น้ามันแร่ชนิดเบา (Light mineral oil) และ 3. น้ามันแร่ชนิดหนัก (Heavy mineral oil) โดยมีการเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของสารสกัดที่ได้ ได้แก่ ความหนาแน่น, ความหนืด, สี และปริมาณสารสาคัญกลุ่ม Curcuminoids การทดสอบความหนาแน่น (Density) ทาโดยการชั่งน้าหนักของสารสกัดที่ได้และหาอัตราส่วนของมวลต่อปริมาตร, การวัดความหนืดทาโดยการใช้เครื่องวัดความหนืด (Viscometer), การวัดความเข้มของสี (Colorimetry) ทาโดยการวัดการดูดกลืนแสง (Absorbance) ด้วยเครื่อง UV- Spectrophotometer โดยใช้สารมาตรฐาน Curcumin เป็นตัวเปรียบเทียบ ผลการศึกษาพบว่า การทอดไพลหั่นละเอียด 200 มก. ด้วยน้ามันมะพร้าว 100 มล.ได้สารสกัด 49.5 มล.มีปริมาณ Curcumin 36.75 % ,การทอดไพลหั่นหยาบ 400 มก. ด้วยน้ามันมะพร้าว 200 มล.ได้สารสกัด 115.0 มล. มีปริมาณ Curcumin 34.15 % การทอดไพลหั่นละเอียด 200 มก. ด้วยน้ามันแร่ชนิดเบา (Light mineral oil) 100 มิลลิลิตร ได้สารสกัด 58.0 มล. มีปริมาณ Curcumin 0.96 %, และการทอดไพล 200 มก. ด้วยน้ามันแร่ชนิดหนัก (Heavy mineral oil) 100 มิลลิลิตร ได้สารสกัด 46.0 มล. มีปริมาณ Curcumin 0.73 % สรุปได้ว่า การสกัดไพลด้วยน้ามันมะพร้าว (ทั้งไพลแบบหั่นละเอียดและหั่นหยาบ) ได้สารสาคัญออกมามากกว่าการสกัดด้วยน้ามันแร่ทั้งชนิดหนักและเบาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และสามารถเห็นความเข้มของสีที่ต่างกันได้ด้วยตาเปล่า ส่วนปริมาณสารสาคัญกลุ่ม Curcuminoids ระหว่างน้ามันมะพร้าวแบบหั่นละเอียดและหั่นหยาบ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ส่วนน้ามันแร่แบบเบาและแบบหนัก พบว่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยผลการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการเลือกวิธีการสกัดน้ามันไพลที่ดีที่สุด ในอุตสาหกรรมการผลิตน้ามันไพลต่อไป
abstract:
The aim of this special project is to study and compare the quality of Zingiber cassumunar extracted by deep-frying using various types of oil; 1. Coconut oil 2. Light mineral oil and 3. Heavy mineral oil. These include the density, viscosity, color and the amount of curcuminoids contents. For the density, mass and volume ratios were calculated. Viscosity was measured by using viscometer. The difference of the color of the extracts was measured by colorimetry method using UV-Spectrophotometer, and Curcumin was used as a reference standard for comparison. The results indicated that the yield of finely sliced Z. cassumunar 200 mg extracted by coconut oil 100 ml obtained the extract = 49.5 ml and Curcumin = 36.75 %. Roughly sliced Z. cassumunar 400 mg extracted by coconut oil 200 ml obtained the extract = 115.0 and Curcumin = 34.15 %. Finely sliced Z. cassumunar 200 mg. extracted by Light mineral oil 100 ml obtained the extract = 58.0 ml and Curcumin = 0.96 %. Finely sliced Z. cassumunar 200 mg. extracted by Heavy mineral oil 100 ml obtained the extract = 46.0 ml and Curcumin = 0.73 %. In conclusion, this study shown that the extract from coconut oil (in both finely sliced and roughly sliced) has higher amount of Curcuminoids than the light and heavy ง mineral oil extract. Also, it can be easily seen the difference between the color of extracts. Curcuminoids content between coconut oil groups (roughly sliced and finely sliced) were not statistical significant. Curcuminoids content between mineral oil groups (light and heavy) were not statistical significant. These results may be useful in deciding what solvent (oils) is the best method in industrial production of Zingiber cassumunar oil.
.