ศึกษาฤทธ์ิต้านการอักเสบของว่านทิพยเนตร

โดย: นายเธียรพงศ์ ชุปวา,นายศักด์ิสิทธ์ิ เบ็ญจวรรณ์    ปีการศึกษา: 2558    กลุ่มที่: 27

อาจารย์ที่ปรึกษา: รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล , สุจิตรา ทองประดิษฐ์โชติ , ภานุพงษ์ พงษ์ชีวิน    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์

Keyword: ว่านทิพยเนตร, ฤทธิ์ต้านการอักเสบ, ฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น, หนูเม้าส์, Wantipayanate, Anti-inflammatory, Anti-oxidant, Mouse
บทคัดย่อ:
ว่านทิพยเนตร (Kaempferia rotunda L.) เป็นสมุนไพรพืน้ บ้านที่ใช้รักษาอาการตาชา้ ตา แดง ริดสีดวงตา ซึ่งมีการบันทึกจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่ง ตาราสมุนไพรไทย และจาก ประสบการณ์ตรงของผู้วิจัย แต่ยังไม่มีการพิสูจน์ฤทธิ์ต้านการอักเสบ โครงการพิเศษนีจึ้งมี วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดว่านทิพยเนตร โดยนาเหง้าสดคัน้ นา้ แล้วนาส่วนนา้ เตรียมเป็นสารสกัดแอลกอฮอล์ 50% (KR50) และส่วนกาก สกัดด้วยเอทานอล 95% (KR95) สารสกัดทัง้ สองชนิดถูกนาไปทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบของใบหูหนูเม้าส์ที่ถูก เหนี่ยวนาให้เกิดการบวมด้วยเอทิลฟีนิลโพรพิโอเลท (EPP) และฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นในหลอด ทดลองโดยใช้ 1,1-diphenyl-2-piccrylhydrazyl (DPPH) radical scavenging assay ผลการวิจัยพบว่าสารสกัด KR95 สามารถลดการบวมของใบหูหนูเมาส์โดยมีความแรง แปรผันตามความเข้มข้นที่ใช้ ซึ่งสารสกัดขนาดสูงสุด (4มก./หู) ให้ผลต้านการอักเสบได้ดีที่สุด โดยเฉพาะชวั่ โมงแรกหลังทาสารสกัด สามารถยับยัง้ การอักเสบได้ 86.83% และมีผลต้านการ อักเสบตลอดระยะเวลา 4 ชวั่ โมงของการทดลอง ส่วนสาร KR50 ไม่มีฤทธิ์ยับยัง้ การอักเสบ ผลการทดลองฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นของสารสกัดพบว่าไม่มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น โดยสารสกัด KR95 และ KR50 มีค่า IC50 = 3910.39 และ 3538.46 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลาดับ การ วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของนา้ มันหอมระเหยจากเหง้าว่านทิพยเนตรด้วยเครื่อง GC-MS พบสาร camphene, beta-pinene และ camphor เป็นองค์ประกอบหลัก นอกจากนีไ้ ด้นาสารสกัด KR มาทา fingerprint ด้วยวิธี Thin layer chromatography
abstract:
Wantipayanate (Kaempferia rotunda L.) is a traditional herb that has been used to treat sore eyes, conjunctivitis and trachoma. This information was published in many books but information of anti-inflammation activity has never been demonstrated. This special project aimed to study anti-inflammatory in rhizome of Wantipayanate. The rhizome was squeezed to separate juice and marc. The juice was prepared to be 50% ethanolic extract (KR50) whereas the marc was extracted by 95% ethanol (KR95). The extracts were used to evaluate the anti-inflammatory activity in ear’s mouse swelling induced by ethyl phenylpropiolate. The anti-oxidant activity was determined by (DPPH) radical scavenging assay. The result showed that KR95 extract demonstrated anti-inflammatory activity in ear’s mouse in dose denpendence manner. The KR95 extract at dose 4 mg/ear showed the maximum potency for 86.83% reduction of swelling in the first hour and prolong this effect for 4 hours. The KR50 extract did not show the anti-inflammtory activity. The antioxidation activity by DPPH method showed that IC50 of KR95 and KR50 extracts were 3910.39 μg/ml and 3538.46 μg/ml, respectively. Moreover, the chemical composition of volatile oil distilled from rhizome of Wantipayanate was investigated using GC-MS. Camphene, beta-pinene and camphor were found as major components. In addition TLC fingerprints were provided.
.