การตรวจสารบ่งชี้ทางชีวภาพของมังคุดในผลิตภัณฑ์อาหารจากมังคุดที่มีจาหน่ายเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์จากมังคุดที่เตรียมขึ้นสาหรับใช้ศึกษาทางคลินิกในผู้ป่วยอัลไซเมอร์

โดย: นางสาวปิยวรรณ รติวิทยกุล,นางสาวอินทราพร สุขสิน    ปีการศึกษา: 2558    กลุ่มที่: 4

อาจารย์ที่ปรึกษา: ปริ่มเฉนียน มุ่งการดี , นีโลบล เนื่องตัน , ณัฐพล ใจสุภา    ภาควิชา: ภาควิชาจุลชีววิทยา

Keyword: มังคุด, สารบ่งชี้ทางชีวภาพ, ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ, โรคอัลไซเมอร์, mangosteen, biological markers, antioxidant, Alzheimer’s disease
บทคัดย่อ:
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสารบ่งชี้ทางชีวภาพของมังคุดในผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากมังคุดที่มีจาหน่าย คือ ผลิตภัณฑ์ A, B และ C กับผลิตภัณฑ์จากมังคุดที่เตรียมขึ้น (CWM) สาหรับใช้ศึกษาทางคลินิกในผู้ป่วยอัลไซเมอร์ จากการพิสูจน์เอกลักษณ์โดยวิธี TLC และ HPLC พบว่าสารสกัดจากผลิตภัณฑ์ A มีรูปแบบการแยกของสาร (chromatogram) เหมือนกับ CWM มากที่สุด โดยสารสาคัญตัวหนึ่งที่ตรวจพบในผลิตภัณฑ์ A ซึ่งเหมือนที่พบใน CWM คือ epicatechin ซึ่งแสดงที่ retention time 47.9 นาที ในขณะที่ตรวจไม่พบในผลิตภัณฑ์ B และ C จากการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH พบว่าค่า IC50 ของ CWM และผลิตภัณฑ์ A มีค่าเป็น 32.65 μg/mL และ 57.89 μg/mL ตามลาดับ ส่วนผลิตภัณฑ์ B และ C มีค่า IC50 มากกว่า 100 μg/mL สาหรับการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยระบบ linoleic acid พบว่า CWM สามารถยับยั้งการเกิด lipid peroxidation ได้มากที่สุด สาหรับการทดสอบด้วยวิธี ROS assay โดยใช้เซลล์ SKBR3 ของมะเร็งเต้านม พบว่า CWM มีฤทธิ์ต้าน ROS ดีที่สุด เพราะฉะนั้นจะเห็นว่า CWM มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระมากที่สุดเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากมังคุดที่มีจาหน่าย สาหรับการทดสอบความเป็นพิษด้วยวิธี MTT assay พบว่า CWM, ผลิตภัณฑ์ A และผลิตภัณฑ์ C ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ มีค่า IC50 มากกว่า 100 μg/mL สาหรับผลิตภัณฑ์ B มีค่า IC50 เป็น 56.68 μg/mL ซึ่งค่อนข้างแสดงความเป็นพิษต่อเซลล์ จากผลการศึกษาพบว่า CWM แสดงศักยภาพโดยภาพรวมที่เด่นที่สุดในการต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่น
abstract:
This study aimed to compare the biological markers from three commercial products of functional food obtained from mangosteen; namely A, B and C with the preparative mangosteen products (CWM) for clinical study in Alzheimers’ patients. TLC and HPLC were used as the analyzing tools. Product A revealed the most similar chromatogram to CWM. One biological marker detected in the product A was epicatechin obtaining the retention time at 47.9 minutes while it was not detected in product B and C. DPPH assay showed the IC50 of CWM and Product A at 32.65 μg/mL and 57.89 μg/mL, respectively, whereas product B and C gave the IC50 greater than 100 μg/mL. Anti-lipid peroxidation assay in linoleic acid system, CWM showed the strongest inhibition of lipid peroxidation. Moreover, CWM also demonstrated the highest antioxidant activity in ROS assay using SKBR3 breast cancer cells. MTT assay revealed that CWM, product A and C are not toxic to cells since the IC50 were greater than 100 μg/mL, whereas product B was more toxic with the IC50 at 56.68 μg/mL. This study concluded that CWM exhibited the most prominent antioxidant activity in overall assays
.