การประเมินภาวะสุขภาพของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

โดย: จกัรพนัธ์ุ ชมสวน,สมภพ พรมใย    ปีการศึกษา: 2550    กลุ่มที่: 42

อาจารย์ที่ปรึกษา: วราภัสร์ พากเพียรกิจวัฒนา , ผุสนี ทัดพินิจ    ภาควิชา: ภาควิชาอาหารเคมี

Keyword: ภาวะสุขภาพ, โภชนาการ, Health status, Nutrition
บทคัดย่อ:
โครงการพิเศษนี้วัตถปุ ระสงคห์ ลกั เพ่อื ประเมนิ ภาวะสุขภาพ ศึกษาความรู้ด้านโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างความรู้ด้านโภชนาการและ พฤติกรรมการบริโภคอาหารกับภาวะสุขภาพของนักศึกษาเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล การศึกษาครั้งนี้เปน็ การสำรวจแบบตัดขวาง โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมลู จากกลุ่ม ตัวอย่างซึ่งสุ่มจากนกัศึกษาเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ลตั้งแต่ชนั้ ปีที่ 2 ถึงชั้นปที ี่ 5 ทำการ รวบรวมข้อมูลในระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2550ผลการศึกษาพบว่าจากกลุ่มตัวอย่าง 172 คน เป็นเพศชายร้อยละ 34.3 และเป็นเพศหญิงร้อยละ65.7 กลุ่มตวั อย่างมดี ัชนีมวลกายเฉล่ยี เท่ากบั 20.18 กิโลกิโลกรัม/เมตร2 กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 8.7 มภี าวะอว้ นลงพุง ในด้านความร้ดู ้านโภชนาการกลุ่มตวัอย่างมคี ะแนนอยใู่ นเกณฑด์ีมาก(มากกว่าร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม) โดยมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่13.97 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.31ด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหารพบว่ากลุ่มตัวอย่างรับประทานอาหารอย่างน้อยวันละ 3 มื้อ ร้อยละ 58.1 และรับประทานอาหารครบ 5 หมเู่พยี งร้อยละ 47.7 กลุ่มตัวอย่างมีการล้างมือก่อนรับประทานอาหารเพียงร้อยละ 13.4 ทางด้านพฤติกรรมการออกกำลังกายพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการออกกำลังกายเพียงร้อยละ 48.8 ด้านทัศนคติที่มีต่อรูปร่างพบว่าร้อยละ 45.3 คิดว่ารูปร่างของตนเองมีปญั หา เม่อื หาความสมั พนั ธร์ ะหว่างความรู้ด้านโภชนาการกับดชั นีมวลกาย พฤตกิ รมการบริโภคอาหารกับดัชนีมวลกาย การออกกำลังกายกับดัชนีมวลกาย และทัศนคติที่มีต่อรูปร่างกับดัชนีมวลกาย พบว่ามเีพยี งทศั นคตทิ ี่มตี ่อรูปร่างกบั ดชั นีมวลกายเท่านั้นทมี่ คี วามแตกต่างกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิต(ิp = 0.000) โดยสรุปแล้วนกั ศกึ ษาเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ลมคี วามรู้ด้านสุขภาพที่ดีมาก แต่มนี ักศึกษาบางกลุ่มท่มี ดี ชั นีมวลกายเกนิ กว่าค่าปกติ และมบี างกลุ่มที่อยู่ในภาวะอว้นลงพุง ซ่งึเปน็ ปัญหาต่อไปในภายหนา้ จึง สมควรที่จะรณรงค์การมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและส่งเสริมการออกกำลังกายแก่นักศึกษาต่อไป
abstract:
The main objective of this special project is to assess the health status, to study the nutrient knowledge and consumed behavior, to find the relationship of nutrient knowledge and consumed behavior with health status. This study is a cross-sectional survey using questionnaire to collect data from 2nd year to 5th year-pharmacy students in Mahidol University between July 1st and August 31st 2007. The result showed that 172 students are male 34.3% and female 65.7%. The average body mass index (BMI) of these students is 20.18 Kilogramme/M2. 8.7% of the samples were a metabolic syndrome. The students have an excellent nutrient knowledge (>80%). An average point is 13.97, which is 87.31% of the perfect points. The behavior of students showed that the samples, have at least 3 meals daily, are 58.1%. The students, who consume whole 5 nutrient groups daily, are 47.7%. There were 13.4 % of the samples who always wash their hand before meals. The exercised samples are 48.8% of the whole students. The samples, opined they have a problem body shape, are 45.3%. About the relationship between the nutrient knowledge and BMI, the consumed behavior and BMI, exercise and BMI, body shape opinion and BMI, we found that only relationship between body shape opinion and BMI is significantly different between groups (p = 0.000). In conclusion, pharmacy students in Mahidol University have excellent health knowledge, but some students are overestimated body mass index or metabolic syndrome, which should cause health problems in the future. Therefore, the faculty should reinforce the correct consumed behavior and promote the exercise in area of the faculty.
.