การศึกษาฤทธ์ิต้านออกซิเดชั่นและต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรสของสารสกัดใบงาขี้ม้อน

โดย: นางสาวสุพิชา จวนวรชัย,นางสาวอชิรญา อัตถโกวิทย์วงศ์    ปีการศึกษา: 2558    กลุ่มที่: 44

อาจารย์ที่ปรึกษา: วรวรรณ กิจผาติ , สุจิตรา ทองประดิษฐ์โชติ , ยุวดี วงษ์กระจ่าง , วีนา นุกูลการ , จตุรงค์ ประเทืองเดชกุล    ภาควิชา: ภาควิชาสรีรวิทยา

Keyword: ใบงาขีม้ ้อน, ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน, ฤทธิ์ต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรส, ปริมาณฟีนอลิกรวม, Antioxidant activity, Anticholinesterase activity, Perilla frutescens (L.) Britt leaf extract, Total phenolic compound
บทคัดย่อ:
โครงการพิเศษนีจึ้งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นและฤทธิ์ต้าน เอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรสของสารสกัดใบงาขีม้ ้อนด้วยเมทานอลจากแหล่งต่างๆ จำนวน 4 แหล่งโดยวิธี DPPH และวิธี Ellman’s ผลการวิเคราะห์หาปริมาณของสารฟีนอลิกรวมที่มีอยู่ในสาร สกัดจากใบงาขีม้ ้อนแสดงในรูปของ gallic acid equivalent ต่อปริมาณของสารสกัด พบว่าสาร สกัดใบงาขีม้ ้อนแหล่งที่ 1, 2 และ 3 มีปริมาณสารฟีนอลิกรวมเท่ากับ 21.31 ± 0.42, 17.15 ± 0.36 และ 8.43 ± 0.28 mg GAE/g ของสารสกัด ตามลำดับ ผลการทดสอบหาฤทธิ์ต้านออกซิ เดชั่น มีค่า IC50 เท่ากับ 54.87 ± 0.51, 46.56 ± 0.11 และ 60.90 ± 0.12 μg/mL ตามลำดับ โดย ค่า IC50 ของสารมาตรฐาน คือ Trolox และ Vitamin C มีค่าเท่ากับ 10.52 ± 0.48 และ 12.54 ± 0.89 μg/mL ตามลำดับ ผลการศึกษาฤทธิ์ต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรส พบว่าสารสกัดใบ งาขีม้ ้อนแหล่งที่ 1, 2 และ 3 มีค่า %inhibition ที่ความเข้มข้น 0.5 mg/mL เท่ากับ 33.16 ± 0.67, 11.43 ± 1.36 และ 18.93 ± 0.57% ตามลำดับ โดยสารมาตรฐาน คือ Galanthamine มีค่า %inhibition ที่ความเข้มข้น 0.05 mg/mL เท่ากับ 89.18 ± 2.84% ส่วนสารสกัดจากใบงาขีม้ ้อน แหล่งที่ 4 ไม่สามารถทำการทดสอบได้เนื่องจากสารสกัดไม่ละลายในระบบที่ใช้เพื่อทดสอบ การศึกษานีส้ รุปได้ว่างาขีม้ ้อนมีฤทธิ์ต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรสที่ค่อนข้างต่ำแต่มีฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระสูงและสอดคล้องกับปริมาณกับสารฟีนอลิกรวมที่พบ
abstract:
The purpose of this study was to determine antioxidant and anticholinesterase activity of methanolic extract of Perilla frutescens (L.) Britt leaves from 4 sources by using DPPH and Ellman’s method, respectively Moreover the extracts were analyzed quantity of total phenolic compounds by using Folin-ciocalteu method and expressed in mg gallic acid equivalent per gram of extracts. Total phenolic compounds from source 1, source 2 and source 3 were 21.31 ± 0.42, 17.15 ± 0.36 and 8.43 ± 0.28 mg GAE/g, respectively. The extracts showed antioxidant activity with IC50 value of 54.87 ± 0.51, 46.56 ± 0.11 and 60.90 ± 0.12 μg/mL, respectively. IC50 value of Trolox and vitamin C were 10.52 ± 0.48 and 12.54 ± 0.89 μg/mL, respectively. The anticholinesterase activites of the extracts expressed as % inhibition at concentration of 0.5 mg/mL were 33.16 ± 0.67, 11.43 ± 1.36 and 18.93 ± 0.57%, respectively. Galanthamine at concentration of 0.05 mg/mL showed %inhibition of 89.19 ± 2.84%. The activity of extract from source 4 cannot be determined because of the solubility problem. This result revealed that the extracts had lower anticholinesterase activity but demonstrated high antioxidant activity which related to the content of total phenolic compounds.
.