ฤทธิ์ต้านอะเซติลโคลีนเอสเตอเรส ต้านการเกาะกลุ่มของเบต้าอะไมลอยด์ และต้านออกซิเดชั่นของ สารสกัดผลหนามแดง ด้วยตัวทาละลายต่างๆ

โดย: นางสาวไพลิน พัดชากุล,นางสาวไพลิน วาสนาวิไล    ปีการศึกษา: 2558    กลุ่มที่: 46

อาจารย์ที่ปรึกษา: ปัทมพรรณ โลมะรัตน์ , ณัฏฐินี อนันตโชค , วรวรรณ กิจผาติ    ภาควิชา: ภาควิชาอาหารเคมี

Keyword: หนามแดง, ฤทธิ์ต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเตอเรส, ฤทธิต้านการเกาะกลุ่มของเบต้าอะไมลอยด์,, Carissa carandas L, Acetylcholinesterase inhibitory activity, beta-amyloid aggregation inhibitory activity, antioxidant activity
บทคัดย่อ:
ผลหนามแดง มีรายงานการวิจัยเกี่ยวกับฤทธิ์ทางชีวภาพมากแต่ยังไม่มีรายงานฤทธิ์ที่ เกี่ยวข้องกับโรคอัลไซเมอร์ โครงการพิเศษนีจึ้งจัดทำขึน้ เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีน เอสเตอเรสด้วยวิธี Ellman’s method, ฤทธิ์ต้านการเกาะกลุ่มของเบต้าอะไมลอยด์ด้วยวิธี Thioflavin T method และฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นด้วยวิธี DPPH assay ซึ่งฤทธิ์ดังกล่าวมีความ เกี่ยวข้องต่อการป้ องกันหรือชะลอการรุดหน้าของโรคอัลไซเมอร์ โดยนำนำ้ คัน้ ผลหนามแดงสดใน ระยะผลอ่อนและระยะผลแก่และสารสกัดจากผลหนามแดงด้วยตัวทำละลายต่างๆ ได้แก่ เอทานอล, เอทธิลอะซีเตท และไดคลอโรมีเทน จากการศึกษาพบว่าฤทธิ์ต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเตอเรส สารสกัดเอทานอลและไดคลอโรมีเทนมีฤทธิ์ปานกลาง สารสกัดนำ้ คัน้ ระยะผลแก่และระยะผลอ่อน มีฤทธิ์อ่อน สารสกัดเอทธิลอะซีเตทไม่แสดงฤทธิ์ดังกล่าว สำหรับฤทธิ์ต้านการเกาะกลุ่มของเบต้า อะไมลอยด์พบว่าสารสกัดเอทธิลอะซีเตทและเอทานอลมีฤทธิ์ดี สารสกัดนำ้ คัน้ ระยะผลแก่มีฤทธิ์ ปานกลาง สารสกัดนำ้ คัน้ ระยะผลอ่อนและไดคลอโรมีเทนมีฤทธิ์อ่อน สำหรับฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น พบว่าสารสกัดเอทานอล, นำ้ คัน้ ระยะผลแก่ และนำ้ คัน้ ระยะผลอ่อนมีค่า IC50 เท่ากับ 349.52, 505.60 และ 518.87 μg/ml ตามลำดับ นอกจากนีก้ ารทำ DPPH assay โดยวิธี TLC พบว่านำ้ คัน้ และสาร สกัดทุกชนิดมีฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น รวมทั้งสารสกัดไดคลอโรมีเทนที่ไม่สามารถทดสอบด้วยวิธี microplate เนื่องจากข้อจำกัดในเรื่องการละลาย
abstract:
Many biological activities of Carissa carandas L. have been reported, but none of them associate with Alzheimer’s disease except antioxidant activity. This study aims to investigate acetylcholinesterase inhibitory activity by Ellman’s method, beta-amyloid aggregation inhibitory activity by thioflavin T method and antioxidant activity by DPPH assay, those activities are involved in preventing or stop progressing of Alzheimer’s disease. Ethanol, ethyl acetate and dichloromethane extracts, and the juices from riped and unriped fruit were determined for those activities. The results of acetylcholinesterase inhibitory activity showed that ethanol and dichloromethane extracts exhibited a moderate activity, riped fruit and unriped fruit juices exhibited a weak activity, ethyl acetate extract was inactive. For beta-amyloid aggregation inhibitory activities, ethyl acetate and ethanol extracts exhibited a strong activity. Riped fruit juice showed a moderate activity. Unriped fruit juice and dichloromethane extract exhibited a weak activity. For the antioxidant activity, ethanol extract, riped fruit and unriped fruit juices showed the IC50 of 349.52, 505.60 and 518.87 μg/ml, respectively. DPPH assay by TLC showed that fruit juices and all extracts were active including dichloromethane extracts which cannot be determined in microplate assay due to the insolubility.
.