การจัดการบริหารยากันชักให้ผู้ป่ วย กรณีที่ได้รับยาไม่ตรงรอบบริหารยา

โดย: นางสาวณัฏฐา เหลืองสุขโสภณ, นางสาวนนทวรรณ วงษ์ชนะชัย    ปีการศึกษา: 2557    กลุ่มที่: 50

อาจารย์ที่ปรึกษา: บุษบา จินดาวิจักษณ์ , สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล , ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม

Keyword: วงรอบการบริหารยา, การบริหารยาไม่ตรงตามวงรอบ, ยากันชัก, phenytoin, valproate, schedule time of drug administration, unscheduled administration, antiepileptic drugs, phenytoin, valproate
บทคัดย่อ:
การศึกษานีจั้ดทาขึน้ เพื่อศึกษาการปรับวงรอบการบริหารยากันชักรูปแบบฉีดเข้าหลอดเลือด ดา (phenytoin sodium และ sodium valproate) ให้แก่ผู้ป่ วยที่ได้รับยากันชักขนาดแรกไม่ตรงรอบ บริหารยา ณ สถาบันประสาทวิทยา โดยทาการศึกษาข้อมูลของผู้ที่ได้รับยากันชักรูปแบบฉีดเข้าหลอด เลือดดาระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2557 จากระบบคอมพิวเตอร์ของฝ่ายเภสัชกรรม และเวชระเบียน ผลการศึกษาพบว่ามีผู้ได้รับการบริหารยากันชักรูปแบบฉีดเข้าหลอดเลือดดาทั ้งหมด 34 คน เป็นการได้รับยาขนาดแรกตรงตามวงรอบ 14 คน (ร้อยละ 41.18) และได้รับการบริหารยา ขนาดแรกไม่ตรงตามวงรอบ 20 คน (ร้อยละ 58.82) โดยในกลุ่มที่ได้รับยาขนาดแรกไม่ตรงตามวงรอบ เป็นการได้รับยา phenytoin sodium และ sodium valproate จานวน 12 คน (ร้อยละ 60) และ 8 คน (ร้อยละ 40) ตามลาดับ ระยะห่างของการบริหารยาขนาดต่อมาเพื่อให้เข้ารอบบริหารยาปกติของยา phenytoin sodium เฉลี่ยเท่ากับ 7.5 ชั่วโมง (ต่าสุด 6 ชั่วโมง, สูงสุด 10 ชั่วโมง) และของยา sodium valproate เฉลี่ยเท่ากับ 14 ชั่วโมง (ต่าสุด 5 ชั่วโมง, สูงสุด 23 ชั่วโมง) เมื่อวิเคราะห์ตามหลักการทาง เภสัชจลนศาสตร์ พบว่าการบริหารยา phenytoin sodium มีการปรับยาเข้าสู่วงรอบปกติที่เหมาะสม ร้อยละ 100 โดยที่ยังคงมีระดับยาอยู่ในช่วงการรักษาได้ ส่วนการบริหารยา sodium valproate นัน้ พบว่ามีการปรับยาเข้าสู่วงรอบปกติที่ไม่เหมาะสมร้อยละ 100 โดยร้อยละ 50 จะมีระดับยาสูงกว่า ระดับยาสูงสุดของช่วงการรักษา และร้อยละ 50 จะมีระดับยาต่ากว่าระดับยาต่าสุดของช่วงการรักษา จากการศึกษานีแ้ สดงให้เห็นว่าการปรับเวลาการบริหารยากันชักรูปแบบฉีดเข้าหลอดเลือดดาให้ เข้ารอบบริหารยาปกตยิ ังคงมีความไม่เหมาะสมเกิดขึน้ อยู่มาก โดยเฉพาะยา sodium valproate
abstract:
This study was conducted to study the adjustment of schedule time to administer intravenous antiepileptic drugs (AEDs; phenytoin sodium and sodium valproate) in patients who previously received the first dose that out of normal administration time schedule at Prasart Neurological Institute. Patients who were prescribed intravenous AEDs during October to November 2014 which were detected from computer database of pharmacy department and medical record were recruited. The results showed that 34 patients were prescribed intravenous AEDs which 14 patients (41.18%) were received first dose of AEDs within normal administration time schedule and 20 patients (51.82%) were not. In the latter group, 12 (60%) and 8 (40%) patients were prescribed phenytoin sodium and sodium valproate, respectively. The average time between first dose and second dose of administered phenytoin sodium and sodium valproate were 7.5 hours (range 6-10 hours) and 14 hours (range 5-23 hours), respectively. When analyzing based on principal of pharmacokinetics, all methods (100%) to adjust the administered time to normal administration time schedule was appropriate and all of them had calculated and some actual plasma concentration of phenytoin within therapeutic range. Concerning about sodium valproate, all methods were inappropriate. Half of them (50%) had calculated plasma concentration of valproic acid higher than therapeutic range while the rest (50%) had lower than therapeutic range. From this study revealed that there were still inappropriate strategies to adjust the administered time of intravenous AEDs to normal administration time schedule, especially sodium valproate.
.