เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้น โปรดสละเวลา 1 นาที ในการตอบแบบสอบถามจากเรา Click !!

บทความจากภาควิชาสรีรวิทยา


ปัสสาวะเล็ด กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เกิดได้อย่างไร
ปัญหาปัสสาวะเล็ด กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เกิดได้อย่างไร ปัญหาปัสสาวะเล็ด กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ คือการที่มีปัสสาวะออกมาโดยไม่สามารถควบคุมได้ ซึ่งเป็นภาวะที่รบกวนการใช้ชีวิตของผู้ป่วยและส่งผล ... ตั้งแต่ 06/07/2565 ถูกอ่านแล้ว 17,299 ครั้ง ล่าสุด 5 ช.ม.ที่แล้ว
กัญชาแมวคืออะไร ปลอดภัยกับแมวจริงหรือ
กัญชาแมวคืออะไร เหมือนกับกัญชาคนหรือไม่ กัญาชาแมว หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า Catnip (ชื่อวิทยาศาสตร์ Nepeta cataria) เป็นพืชตระกูลมิ้นท์ บางคนอาจจะเรียกว่าต้นหญ้าแมวก็ได้ ที่ใบและก้านของต้ ... ตั้งแต่ 20/06/2565 ถูกอ่านแล้ว 70,296 ครั้ง ล่าสุด 16 นาทีที่แล้ว
ประโยชน์ของการบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
ปัญหาปัสสาวะเล็ด กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ขณะออกแรงยกของ ไอ จาม หัวเราะ หรือออกกำลังกาย เป็นปัญหาที่พบได้ในบุคคลที่มีกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน (Pelvic floor muscle) อาการอ่อนแรง โดยกล้ามเนื้ออุ ... ตั้งแต่ 06/06/2565 ถูกอ่านแล้ว 16,246 ครั้ง ล่าสุด 6 ช.ม.ที่แล้ว
โรคน้ำหนีบ (Decompression sickness)
          โรคน้ำหนีบ หรือ Decompression sickness เป็นโรคที่คนทั่วไปอาจไม่ค่อยคุ้นหู แต่มีความสำคัญมากในกลุ่มนักดำน้ำ โดยเมื่อร่างกายอยู่ในสภาวะที่ความกดอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แก๊สเฉื่อยในร่างกายจะรวมตัวกันขนาดใหญ่ทำให้เกิดฟองก๊าซ (ga ... ตั้งแต่ 28/05/2565 ถูกอ่านแล้ว 19,074 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
ภาวะอักเสบหลายระบบในเด็ก (multisystem inflammatory syndrome in children; MIS-C)
          จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 (COVID-19) ระลอกล่าสุดในประเทศไทยตั้งแต่ประมาณเดือนมกราคม พ.ศ. 2565 มีแนวโน้มผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งคาดการณ์ว่า ส่วนใหญ่เป็นการติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์โอมิครอน (O ... ตั้งแต่ 27/05/2565 ถูกอ่านแล้ว 3,156 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
Long COVID-19
          เคยสงสัยกันหรือไม่ว่า ทำไมหลังจากรักษาโรคติดเชื้อ SARS CoV-2 หรือโคโรน่าไวรัส 2019 (COVID-19) หายแล้ว ยังมีอาการไอ หรือเหนื่อยเพลียอยู่ทั้งที่กักตัวครบ 10 วันแล้วและไม่มีสาเหตุอื่น องค์การอนามัยโลก (World health organization; WHO ... ตั้งแต่ 26/05/2565 ถูกอ่านแล้ว 3,168 ครั้ง ล่าสุด 6 ช.ม.ที่แล้ว
สูงวัยอย่างมีคุณภาพด้วยการออกกำลังกาย
การสูงวัย เป็นภาวะปกติของร่างกายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพจนทำให้การทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกายเสื่อมถอยลงเรื่อย ๆ โดยเมื่อร่างกายเข้าสู่สภาวะสูงวัยจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในห ... ตั้งแต่ 17/05/2543 ถูกอ่านแล้ว 2,193 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
ปวดศีรษะไมเกรนกับการทำสมาธิ
การทำสมาธิ เป็นการรับรู้หรือการรู้สึกถึงสิ่งที่เกิดขึ้น รับรู้สิ่งที่กำลังทำอยู่ และรับรู้ถึงสภาพแวดล้อม หรือบางคนอาจเรียกว่า การอยู่กับปัจจุบัน การทำสมาธิเป็นหนึ่งในเทคนิคที่ใช้บรรเทา ... ตั้งแต่ 16/05/2565 ถูกอ่านแล้ว 8,019 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
ยืดเหยียดก่อนวิ่งสำคัญไฉน?
การวิ่งเป็นการออกกำลังกายที่ดีและกำลังเป็นที่นิยมอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากจะช่วยเพิ่มสมรรถภาพของร่างกาย ลดความเครียด และเป็นกิจกรรมที่ทำได้ง่ายๆ ไม่จำเป็นต้องมีอุปกรณ์พิเศษใด ๆ ไม่จ ... ตั้งแต่ 05/04/2565 ถูกอ่านแล้ว 7,662 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
อาการตาล้าจากการใช้งานคอมพิวเตอร์
ท่ามกลางสถานการณ์ปัจจุบัน หลายคนต้องใช้ชีวิตอยู่กับหน้าจออุปกรณ์ดิจิตอล ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต หรือแม้แต่โทรทัศน์ เป็นระยะเวลาที่ยาวนานขึ้น การใช้ชีวิตดังกล่า ... ตั้งแต่ 02/11/2564 ถูกอ่านแล้ว 8,210 ครั้ง ล่าสุด 4 ช.ม.ที่แล้ว
ประโยชน์ของปลูกต้นไม้: ลดความเครียดช่วงโควิด-19
ในช่วงที่สถานการณ์ของโควิด-19 ที่กลับมาแพร่ระบาดอีกระลอกและยังไม่เห็นทีท่าว่าจะจบลงในเร็ววันนี้ได้ส่งผลกระทบต่ออารมณ์และสุขภาพจิตของเรา ทำให้รู้สึกไม่สดชื่น ไม่อยากทำอะไร ไม่มีสมาธิจดจ ... ตั้งแต่ 23/07/2564 ถูกอ่านแล้ว 12,655 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
มะเร็งยูเวีย หรือมะเร็งผนังลูกตาชั้นกลาง
ยูเวีย (uvea) คือเนื้อเยื่อชั้นกลางของผนังลูกตาประกอบด้วย ม่านตา (iris) เนื้อเยื่อซิลเลียรี่ (ciliary) และคอรอยด์ (choroid) โดยหน้าที่จะแตกต่างกันไปตามส่วนต่าง ๆ คือ ม่านตา มีหน้าที่ ควบคุมแ ... ตั้งแต่ 19/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 5,588 ครั้ง ล่าสุด 4 ช.ม.ที่แล้ว
ต้อหิน
ต้อหิน เป็นสาเหตุอันดับที่ 2 ของการสูญเสียการมองเห็น รองจากต้อกระจกในระดับโลก องค์การอนามัยโลกประมาณว่า 7.7 ล้านคนทั่วโลก มีปัญหาต้อหินที่รุนแรงปานกลางจนถึงขั้นประสบปัญหาตาบอด   ... ตั้งแต่ 18/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 5,653 ครั้ง ล่าสุด 30 นาทีที่แล้ว
ต้อกระจก
ต้อกระจก เป็นปัญหาทางการมองเห็นที่สำคัญและนำไปสู่ภาวะตาบอดได้หากไม่ได้รักษา องค์การอนามัยโลกประมาณว่า 94 ล้านคนทั่วโลก มีปัญหาต้อกระจกที่รุนแรงปานกลางจนถึงขั้นประสบปัญหาตาบอด สำหรับประเทศไทย ... ตั้งแต่ 14/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 5,537 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
ต้อลม-ต้อเนื้อ
ต้อลม (pinguecula) และต้อเนื้อ (pterygium) เป็นปัญหาทางตาที่พบบ่อย ไม่มีอันตรายร้ายแรงถึงขั้นทำให้ตาบอดได้โดยตรง แต่มักก่อให้เกิดความรำคาญ เนื่องจากการระคายเคือง หรืออักเสบบริเวณที่มีการเกิด ... ตั้งแต่ 12/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 8,768 ครั้ง ล่าสุด 41 นาทีที่แล้ว
เครียดเรื้อรัง ทำอย่างไรดี
ท่ามกลางสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ที่คงอยู่มายาวนานร่วมปีกว่า เราต่างได้รับข่าวสารมากมายทั้งข่าวดีและข่าวร้าย ข่าวจริงและข่าวลวง คงปฏิเสธไม่ได้ว่าข้อมูลเหล่านี้ได้กลายเป็นภัยคุกคามทางจิต ... ตั้งแต่ 11/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 15,533 ครั้ง ล่าสุด 6 ช.ม.ที่แล้ว
ภาวะเบาหวานเข้าจอประสาทตา (เบาหวานขึ้นตา)
โรคเบาหวาน เป็นปัญหาใหญ่ระดับโลก มีการคาดการณ์ว่า จะมีคนเป็นโรคเบาหวาน 642 ล้านคนในปี ค.ศ. 2040 ซึ่งสัมพันธ์กับภาวะเบาหวานเข้าจอประสาทตา (diabetic retinopathy) หรือที่เรียกว่า “เบาหวานขึ้นตา ... ตั้งแต่ 06/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 7,542 ครั้ง ล่าสุด 4 ช.ม.ที่แล้ว
บริหารกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัว..ลดปวดหลัง ลดโอกาสหกล้ม
กล้ามเนื้อแกนกลางลำตัว (core muscles) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ใกล้กับแกนกลางของลำตัว ทำหน้าที่ในการเคลื่อนไหวกระดูกสันหลัง ก่อให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การเอี้ยวตัวหยิบของ การยกของ หรือการหันหล ... ตั้งแต่ 11/02/2564 ถูกอ่านแล้ว 44,736 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
PM 2.5 และมลพิษทางอากาศ ปัจจัยในการก่อให้เกิดโรคจอประสาทตาเสื่อมตามวัย (AMD)
โรคจอประสาทตาเสื่อมตามวัย (age-related macular degeneration; AMD) เป็นโรคในอันดับต้น ๆ ที่ทำให้เกิดปัญหาด้านการมองเห็นในผู้สูงอายุ มีการคาดการณ์ว่า 1 ใน 3 ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 70 ปี มีโอกา ... ตั้งแต่ 02/02/2564 ถูกอ่านแล้ว 7,555 ครั้ง ล่าสุด 7 ช.ม.ที่แล้ว
ปวดสะโพกร้าวลงขา หมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาทจริงหรือไม่
อาการปวดสะโพกร้าวลงขา เป็นอาการที่พบได้บ่อยในบุคคลที่นั่งทำงานเป็นระยะเวลานาน มีการทำกิจวัตรประจำวันที่ต้องยกของหนัก มีการเคลื่อนไหวของลำตัวในลักษณะที่ไม่ถูกต้อง มีภาวะอ้วน หรือสตรีตั้งครรภ์ ... ตั้งแต่ 23/12/2563 ถูกอ่านแล้ว 127,200 ครั้ง ล่าสุด 12 นาทีที่แล้ว
ปวดข้อมือ..เส้นประสาทบริเวณข้อมือถูกบีบรัด
ภาวะเส้นประสาทบริเวณข้อมือถูกบีบรัด เป็นภาวะที่พบได้บ่อยที่ก่อให้เกิดอาการปวด ชา รู้สึกเสียวซ่านบริเวณมือ/แขน และกล้ามเนื้อมืออ่อนแรง โดยสาเหตุของอาการเหล่านี้เกิดจากการที่เส้นประสาทมีเดียน ... ตั้งแต่ 09/09/2563 ถูกอ่านแล้ว 69,663 ครั้ง ล่าสุด 20 นาทีที่แล้ว
โควิด-19 กับ สัตว์เลี้ยง
ปัจจุบันในขณะที่เรากำลังรับมือกับสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 (COVID-19) เราก็จะได้ข่าวรายงานการติดเชื้อโควิด-19ในสัตว์ที่เพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นสุนัข แมว และล่าสุดเสือที่เกิดขึ้นในต่ ... ตั้งแต่ 15/04/2563 ถูกอ่านแล้ว 18,305 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
โควิด-19 กับ ภาวะระบบหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
อย่างที่ทราบกันดีว่าผู้ป่วยโควิด-19 ที่มีอาการรุนแรง มีโอกาสเกิดภาวะระบบหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน หรือที่ศัพท์ทางการแพทย์เรียกว่า acute respiratory distress syndrome (ARDS) ได้ จริง ๆ แล้วนั้นภา ... ตั้งแต่ 12/04/2563 ถูกอ่านแล้ว 18,807 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
คุมกำเนิดอย่างไรดีในช่วงโรคระบาด
ปฏิเสธไม่ได้ว่าการระบาดของโควิด-19 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตรอบด้าน แต่ในผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจเป็นสาเหตุทำให้ประชาชนอยู่บ้านหรือที่พักส่วนตัวกันมากขึ้น มีเวลาพักผ่อน ไม่ต้องเผชิ ... ตั้งแต่ 09/04/2563 ถูกอ่านแล้ว 7,627 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
ความเครียดและภาวะปวดกล้ามเนื้อ
เมื่อเรารู้สึกวิตกกังวลหรือมีความกลัวเกิดขึ้น ร่างกายของเราจะตกอยู่ในภาวะที่มีความเครียด ทันใดนั้นร่างกายจะมีการตอบสนองอย่างอัตโนมัติเกิดขึ้นทันที เช่น อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น อัตราการ ... ตั้งแต่ 31/03/2563 ถูกอ่านแล้ว 81,757 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
โรครองช้ำ
หากใครเคยมีอาการปวดเสียวแปล๊บๆ บริเวณส้นเท้าขณะที่เริ่มเดินหลังจากตื่นนอนในตอนเช้า ......ใช่แล้วค่ะนั่นคืออาการของโรครองช้ำตามภาษาชาวบ้านหรือโรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบนั่นเอง บทความนี้ผู้เขีย ... ตั้งแต่ 26/06/2562 ถูกอ่านแล้ว 161,528 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
โรคลมร้อนหรือโรคลมแดด ภัยเสี่ยงถึงชีวิต (Heat Stroke)
จากข้อมูลการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตเนื่องจากภาวะอากาศร้อน สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ช่วงฤดูร้อน (มีนาคม-พฤษภาคม) ระหว่างปี 2558-2561 พบว่ามีรายงานผู้เสียชีวิตที่เข้าข่ายการเฝ้าร ... ตั้งแต่ 01/05/2562 ถูกอ่านแล้ว 34,145 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
เพราะอากาศเปลี่ยนแปลง...อารมณ์จึงแปรปรวน (Seasonal Affective Disorder; SAD)
          นอกจากสภาพแวดล้อมจะส่งผลต่อสุขภาพร่างกายได้แล้ว สุขภาพใจก็สามารถได้รับผลกระทบจากสิ่งรอบตัวได้เช่นกัน สิ่งหนึ่งที่ถือว่าเป็นข้อดี และวิเศษที่สุดสำหรับคนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยซึ่งอยู่ในบริเวณแถบเส้นศูนย์สูตร คือ มีระยะเวลาช่วงกลางวันและ ... ตั้งแต่ 28/11/2561 ถูกอ่านแล้ว 8,022 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
จอประสาทตาลอก (Retinal detachment)
การมองเห็นทำให้มนุษย์และสัตว์สามารถรับรู้การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา โดยการกระตุ้นจอประสาทตาหรือจอตา (retina) ซึ่งอยู่ชั้นในสุดของลูกตาและมีเซลล์หลายชนิดเรียงตัวกันเป็นชั้นๆ มีตัวรับแสงที่สำคัญได้แก่ เซลล์รูปแท่ง และเซลล์รูปกรวย ... ตั้งแต่ 11/07/2561 ถูกอ่านแล้ว 19,775 ครั้ง ล่าสุด 53 นาทีที่แล้ว
ทีมหมูป่า เด็กติดถ้ำ กับภาวะ Refeeding Syndrome ที่ต้องระวัง
จากข่าวโด่งดังทั่วโลกของการติดอยู่ในถ้ำของเด็กๆ นักฟุตบอลทีมหมูป่าและโค้ชรวม 13 ชีวิตในถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน เป็นระยะเวลานานถึง 9 วันเศษ อาศัยเพียงน้ำที่หยดมาตามซอกหินของผนังถ้ำปะทังชีวิต ขาดอาหารเพื่อบำรุงร่างกาย คำที่เอ่ยปากกับนักกู้ภัยชาวอังกฤ ... ตั้งแต่ 04/07/2561 ถูกอ่านแล้ว 10,897 ครั้ง ล่าสุด 5 ช.ม.ที่แล้ว
CRISPR/Cas9 ความหวังใหม่สำหรับการรักษาโรคต่างๆ ในระดับสารพันธุกรรม
          งานวิจัยสำหรับการรักษาในปัจจุบันเริ่มให้ความสำคัญที่เฉพาะเจาะจงและลงรายละเอียดลึกลงไปในระดับเซลล์ (Cell) และสารพันธุกรรมมากขึ้น หนึ่งในความพยายามที่จะรักษาโรคได้แก่ การดัดแปลงสารพันธุกรรมในร่างกาย ซึ่งก็คือสายของกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก ห ... ตั้งแต่ 02/11/2559 ถูกอ่านแล้ว 77,611 ครั้ง ล่าสุด 16 นาทีที่แล้ว
สัตว์เลี้ยงกับยา
คำถาม: ยาคนกับยาสัตว์ต่างกันอย่างไร ? คำตอบ: ยาคนกับยาสัตว์นั้นมีความแตกต่างกันอยู่บ้าง รศ.สพ.ญ.ดร.วรา พานิชเกรียงไกร ได้ให้คำนิยามง่ายๆ ไว้ว่า ยาคน หมายถึง ยาที่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบีย ... ตั้งแต่ 01/06/2559 ถูกอ่านแล้ว 320,407 ครั้ง ล่าสุด 39 นาทีที่แล้ว
สมุนไพรป้องกันยุง
ยุงเป็นพาหะของการเกิดโรคที่สำคัญ ได้แก่ ยุงลายเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ยุงก้นปล่องเป็นพาหะนำไข้มาลาเรีย ยุงรำคาญนำโรคไข้สมองอักเสบ ยุงลายเสือและยุงอีกหลายชนิดเป็นพาหะโรคเท้าช้าง ที่ยังค ... ตั้งแต่ 09/12/2558 ถูกอ่านแล้ว 163,754 ครั้ง ล่าสุด 14 นาทีที่แล้ว
หยุดคิดสักนิด…ก่อนคิดฝ่าไฟแดง
ปัจจุบันมีคู่รักจำนวนไม่น้อยที่มีความสัมพันธ์แบบ "ฝ่าไฟแดง" การฝ่าไฟแดงก็คือ การมีเพศสัมพันธ์ขณะมีประจำเดือน ซึ่งจากรายงานวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล พบว่า สตรีวัยรุ่น ร้อยละ 2.4-4 ... ตั้งแต่ 01/11/2558 ถูกอ่านแล้ว 917,670 ครั้ง ล่าสุด 27 นาทีที่แล้ว
ข้อควรระวังในการใช้สมุนไพร
ปัจจุบันสมุนไพรเข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตมากขึ้นในการใช้รักษาโรคหรือการใช้เป็นอาหารเสริม เนื่องจากสังคมได้ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของสมุนไพร แต่หากมีการนำสมุนไพรมาใช้อย่างไม่ถูกต้อง ไม่ถู ... ตั้งแต่ 30/06/2558 ถูกอ่านแล้ว 321,263 ครั้ง ล่าสุด 39 นาทีที่แล้ว
ดูแลไตอย่างไร...ให้อยู่กับเราไปนานๆ
ไตเป็นอวัยวะหนึ่งที่สำคัญกับร่างกาย ทำหน้าที่ขับของเสียออกจากร่างกายและหน้าที่อื่นอีกหลายอย่าง ดังนั้นการดูแลไตจึงเป็นสิ่งจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับทุกรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิ ... ตั้งแต่ 30/11/2557 ถูกอ่านแล้ว 242,790 ครั้ง ล่าสุด 43 นาทีที่แล้ว
สมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน..กินด้วยกันดีมั้ย?
ปัจจุบันการนำผลิตภัณฑ์สมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีสมุนไพรเป็นส่วนประกอบมาใช้นั้นเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ผู้ป่วยจำนวนหนึ่งได้ใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ร่วมกับยารักษาโรคแผนปัจจุบัน จึ ... ตั้งแต่ 03/08/2557 ถูกอ่านแล้ว 202,009 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
รับมือโรคหวัดอย่างไร ให้เหมาะสม
สาเหตุส่วนใหญ่ของการเป็นหวัดเกิดจากร่างกายได้รับเชื้อไวรัสก่อโรค ร่วมกับสภาวะที่ภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลง เช่น เครียด พักผ่อนไม่เพียงพอ ซึ่งการแก้ไขอาการที่เกิดขึ้นในเบื้องต้นอาจใช้ยาสามัญป ... ตั้งแต่ 02/03/2557 ถูกอ่านแล้ว 221,176 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
ยาตีกันในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การใช้ยารักษาโรคมะเร็งนั้น ขนาดของยาที่ใช้เป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากขนาดยาที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วงแคบๆ กล่าวคือ เมื่อใช้ในขนาดต่ำเกินไปจะไม่ให้ผลในการรักษา แต่เมื่อใช้ในขนาด ... ตั้งแต่ 27/10/2556 ถูกอ่านแล้ว 40,368 ครั้ง ล่าสุด 5 ช.ม.ที่แล้ว
ยาต้านมะเร็ง
ยาในกลุ่มนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อด้วยกัน ตั้งแต่ ยาเคมีบำบัด ยาคีโม ที่มาจากคำว่า chemotherapy รวมไปถึงชื่อเรียกสั้นๆว่า ยามะเร็ง จุดมุ่งหมายในการใช้มีหลายประการด้วยกัน เช่น การให้ยาก่อนการผ่าต ... ตั้งแต่ 21/10/2556 ถูกอ่านแล้ว 99,172 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
นิ่วน้ำลาย
คำว่า “นิ่ว” เมื่อได้ยินคนส่วนใหญ่จะนึกถึงนิ่วในทางเดินปัสสาวะ รวมทั้งนิ่วในถุงน้ำดีหรือทางเดินน้ำดี แต่ท่านทราบหรือไม่ว่า “นิ่ว” สามารถเกิดในต่อมน้ำลายหรือท่อทางเดินน้ำลายได้ด้วย &nbs ... ตั้งแต่ 03/02/2556 ถูกอ่านแล้ว 109,628 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
ยาดมมีอันตรายหรือไม่
ในปัจจุบันยาดม ซึ่งใช้บรรเทาอาการหวัด คัดจมูก หน้ามืดตาลาย วิงเวียนศีรษะ กำลังเป็นที่นิยมในท้องตลาด โดยผู้ใช้ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีอายุอานามเลยวัยกลางคนขึ้นไป อย่างไรก็ตามยาดมสมัยใหม่มีกา ... ตั้งแต่ 15/07/2555 ถูกอ่านแล้ว 277,435 ครั้ง ล่าสุด 5 นาทีที่แล้ว
ยาไอซ์ (Ice)
เป็นรูปแบบหนึ่งของ Methamphetamine หรือยาบ้า เนื่องจากมีรูปพรรณเป็นก้อนผลึกใสเหมือนน้ำแข็ง จึงมีชื่อเรียกขานในหมู่ผู้เสพว่า “ไอซ์” (Ice) เนื่องจากยาไอซ์มีความบริสุทธิ์เกือบ 100% จึงมีฤท ... ตั้งแต่ 22/01/2555 ถูกอ่านแล้ว 446,213 ครั้ง ล่าสุด 52 นาทีที่แล้ว
ยาบ้า
ยาบ้า เดิมชื่อว่า ยาม้า หรืออาจเรียกว่ายาขยัน ยาแก้ง่วง ยาโด๊ป เป็นยาเสพติดที่มีส่วนประกอบหลักคือสารสังเคราะห์กลุ่มแอมเฟตามีน แพร่ระบาดอยู่ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ แอมเฟตามีนซัลเฟต (Ampheta ... ตั้งแต่ 16/01/2555 ถูกอ่านแล้ว 180,761 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
ผลิตภัณฑ์พลาสติกกับอาหาร
ปัจจุบันผลิตภัณฑ์พลาสติกกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะในรูปแบบของใช้ในบ้าน เครื่องนุ่งห่ม วัสดุทางการแพทย์ วัสดุอาคาร รวมไปถึงการใช้เพื่อบรรจุอาหาร เนื่องด้วยความสะดวกสบายในการใช้งา ... ตั้งแต่ 08/01/2555 ถูกอ่านแล้ว 308,523 ครั้ง ล่าสุด 20 นาทีที่แล้ว
โรคระบาดที่มากับน้ำท่วม (ตอนที่ 4) การดูแลและรักษาน้ำกัดเท้า
ในปี พ.ศ.2554 ประเทศไทยได้ประสบภาวะอุทกภัยอย่างหนัก ครอบคลุมหลายบริเวณ ทั้งในภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคกลางโดยเฉพาะจังหวัด ลพบุรี นครสวรรค์ อยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ทำให้ป ... ตั้งแต่ 18/11/2554 ถูกอ่านแล้ว 33,154 ครั้ง ล่าสุด 4 ช.ม.ที่แล้ว
เตรียมตัวให้พร้อม ….. ก่อนเข้าห้องผ่าตัด (ตอนที่ 1)
ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ แต่ใครจะหลีกลี้จากโรคภัยไข้เจ็บไปได้ล่ะ บางคนเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ แต่บางคนเป็นหนัก และสิ่งที่ทุกคนไม่อยากให้เกิดขึ้นกับตนเองก็คือ “การผ่าตัด” แล้วท่านจะทำอย่าง ... ตั้งแต่ 07/08/2554 ถูกอ่านแล้ว 98,786 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
Sleep Apnea : ง่วง นอนกรน นอนไม่อิ่ม
เป็นภาวะที่มีการหยุดหายใจเป็นระยะๆหรือมีการหายใจตื้นๆสลับกับการหายใจที่เป็นปกติในระหว่างที่นอนหลับ ซึ่งช่วงการหยุดหายใจดังกล่าวอาจเป็นเพียงไม่กี่วินาทีหรืออาจยาวเป็นนาทีก็ได้ โดยมักเกิด 5-30 ... ตั้งแต่ 22/05/2554 ถูกอ่านแล้ว 59,748 ครั้ง ล่าสุด 5 ช.ม.ที่แล้ว
เกิร์ด (GERD) - โรคกรดไหลย้อน
ปัจจุบันนี้ที่แผนกอายุรศาสตร์ของโรงพยาบาลต่าง ๆ มีผู้ป่วยเป็น “เกิร์ด”(GERD) หรือ โรคกรดไหลย้อน (Gastroesophageal reflux disease)จำนวนมาก ซึ่งหลายคนยังมีความสงสัยและไม่เข้าใจว่า โรคกรดไหลย้อนนั้น หมายถึงอะไร เกิดได้อย่างไร มีอันตรายต ... ตั้งแต่ 21/03/2554 ถูกอ่านแล้ว 560,137 ครั้ง ล่าสุด 23 นาทีที่แล้ว
ออกกำลังกายอย่างไรดี ?
ปัจจุบันการออกกำลังกายได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นจากคนเกือบทุกเพศทุกวัย จุดประสงค์ในการออกกำลังกายก็มีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล บางท่านออกกำลังกายเพื่อให้สุขภาพแข็งแรง ในขณะที่บางท่านออกกำลั ... ตั้งแต่ 04/11/2553 ถูกอ่านแล้ว 883,381 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

447 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ดูเบอร์ติดต่อหน่วยงานต่างๆ | ดูข้อมูลการเดินทางและแผนที่

เว็บไซต์นี้ออกแบบและพัฒนาโดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนการสอน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Copyright © 2013-2024
 

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้

เราใช้เทคโนโลยีคุกกี้เพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง การเปิดให้ใช้คุณสมบัติทางโซเชียลมีเดีย และเพื่อวิเคราะห์การเข้าเว็บไซต์ของเรา การใช้งานเว็บไซต์ต่อถือว่าคุณยอมรับการใช้งานคุกกี้